โปรแกรม Odoo ERP โทร : 096-915-9956
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีเนื้อที่ปกคลุม 2,215.42 ตารางกิโลเมตร ประกอบด้วยป่าเบญจพรรณ ป่าดงดิบแล้ง ป่าดงดิบชื้น ป่าดิบเขา ทุ่งหญ้า และป่ารุ่นสอง ป่าดงดิบชื้น ลักษณะป่าชนิดนี้เป็นป่าที่อยู่ในระดับความสูง 400-1,000 เมตรจากระดับน้ำทะเลปานกลาง พืชพรรณมี 3,000 ชนิด, มีผีเสื้ออยู่กว่า 189 ชนิด, นกป่ามากมายกว่า 350 ชนิดและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม 71 ชนิด ซึ่งได้แก่ ช้าง เสือ ชะนี กวาง และหมูป่า พบอยู่ตามทุ่งหญ้ากว้างทั่ว ๆ ไป
ให้บริการเกี่ยวกับโปรแกรม ใช้งานง่าย ช่วยวางแผนธุรกิจ ERP
SIAM ERP
Odoo เป็นซอฟต์แวร์ทางธุรกิจหรือ ERP ที่มีประสิทธิภาพและมีความรวดเร็วที่สุดในโลก อีกทั้งเป็นแอพลิเคชันที่รองรับการทำงานทางด้านธุรกิจอย่างเต็มรูปแบบที่คุณต้องการ ตั้งแต่ จากเว็บไซต์ไปจนถึงกระบวนการผลิต, การควบคุมคลังสินค้า และทางบัญชี ซึ่งทุกสิ่งที่คุณต้องการใช้ในธุรกิจได้ถูกรวบรวมไว้แล้วใน Odoo ซึ่งนับว่าเป็น Software ตัวแรกที่มีการรองรับการแก้ไขที่ครอบคลุมทุกฟังก์ชันการใช้งานจริง โดยการวิเคราะห์ระบบ พร้อมทั้งพัฒนาซอฟต์แวร์ ด้วยการศึกษาความต้องการลูกค้าอย่างละเอียด เพื่อตอบสนองความต้องการ ของธุรกิจเป็นหลัก มีการออกแบบ และ พัฒนาระบบงาน ให้เหมาะสม และ ตรงกับความต้องการของธุรกิจของคุณอย่างยั่งยืน ผู้ใช้งานสามารถนำไปใช้งานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ ทางเรามีความยินดี แนะนำให้ข้อมูลทางด้านเทคโนโลยี ที่มีประโยชน์กับลูกค้า เพื่อตอบสนองถึงความเป็นไปได้ในการพัฒนาระบบ ด้วยความน่าเชื่อถือ, และการช่วยเหลือทางด้านเทคนิคอย่างมืออาชีพ สิ่งสำคัญที่สุด คือการที่เราได้เน้น ให้ความสำคัญกับลูกค้า ถึงประสบการณ์การใช้งานระบบ ซึ่งต้องให้ตอบความต้องการ ระหว่างลูกค้า กับ ระบบ Odoo ได้ด้วย
ธุรกิจที่เหมาะจะใช้ Odoo?
ประเภทธุรกิจที่เหมาะสมกับระบบ Odoo ในเมืองไทย อาทิ ธุรกิจค้าปลีก ธุรกิจเสริมความงามและสุขภาพ ธุรกิจทางด้านการแพทย์ ระบบบริการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ธุรกิจโรงงานอุตสาหกรรม ธุรกิจการบริหารจัดการโลจิสติกส์ ธุรกิจร้านอาหาร ธุรกิจการบริการ ธุรกิจการท่องเที่ยว ธุรกิจบันเทิง และ การโฆษณา ระบบบัญชีและการเงิน ระบบการศึกษา
ไม่ว่าคุณจะจัดการกำหนดการของพนักงานหรือคาดการณ์โครงการของคุณระบบการวางแผนของ Odoo ช่วยให้คุณมุ่งเน้นไปที่การประสานงาน และทำให้การจัดระเบียบเป็นเรื่องง่ายแสนง่าย สร้างกะงาน มอบหมายงาน และปรับเปลี่ยนการมอบหมายงานด้วยการคลิกลากและวางเพียงครั้งเดียว
พนักงานของคุณสามารถเข้าถึงกำหนดการของตนเองผ่านทางพอร์ทัลส่วนตัวของตนเอง โดยจะได้รับทั้งมุมมองที่ชัดเจนเกี่ยวกับกะงานของตนเอง และสามารถเลือกกะงานที่ว่างอยู่หรือปรับเปลี่ยนกำหนดการของตนเองโดยตรงจากคอมพิวเตอร์หรือสมาร์ทโฟน
เปลี่ยนใบเสนอราคาให้เป็นใบสั่งขายในคลิกเดียว หรือให้ลูกค้าเซ็นเอกสารด้วยลายเซ็นอิเล็กทรอนิกส์ได้อย่างง่ายดาย
ออกใบแจ้งหนี้ให้กับลูกค้าตามเวลาและวัสดุ บันทึกข้อมูลสัญญาและติดตามระยะเวลาในการออกใบแจ้งหนี้ได้ง่าย ๆ รักษาโอกาสในการต่ออายุและการขายต่อยอด และจัดการการสมัครสมาชิกของคุณด้วยระบบทำสัญญาแบบประจำตามรอบของ Odoo
พอร์ทัลสำหรับลูกค้าจะช่วยให้ลูกค้าของคุณสามารถเข้าถึงใบเสนอราคา ใบสั่งขาย และใบส่งสินค้าของตนได้ ประหยัดเวลาและใช้ Odoo Sign เพื่อลงนามบน NDA สัญญา หรือเอกสาร PDF ทั้งหมดได้ง่าย ๆ
เชื่อมต่อรายการเคลื่อนไหวในบัญชีของคุณเข้ากับธนาคารโดยอัตโนมัติ หรือนำเข้าไฟล์ต่าง ๆ ได้อย่างง่ายดาย จัดทำใบแจ้งหนี้ที่ถูกต้องชัดเจนในแบบมืออาชีพ จัดการกับการเรียกเก็บแบบประจำตามรอบ และติดตามการชำระเงินได้ง่ายๆ ควบคุมใบแจ้งหนี้ของซัพพลายเออร์ และคาดการณ์ยอดเรียกเก็บที่คุณต้องจ่ายในอนาคคได้อย่างแม่นยำ ระหยัดเวลาและทำให้ 95% ของการกระทบยอดเป็นระบบอัตโนมัติ ด้วยเครื่องมือกระทบยอดบัญชีที่ชาญฉลาดของเรา
จัดระเบียบโกดังสินค้าของคุณให้ดียิ่งขึ้นด้วยระบบการลงบัญชีสินค้าคงคลังแบบบัญชีคู่อันชาญฉลาด รับระบบการสต๊อกสินค้าที่มีประสิทธิภาพสูงสุดพร้อมทั้งปรับปรุงการปฏิบัติงานภายในของคุณ ระบบสินค้าคงคลังแบบลงรายการคู่ของ Odoo ไม่ต้องมีข้อมูล input หรือ output หรือการแปลงข้อมูล เพราะการปฏิบัติงานทั้งหมดก็เพียงแค่ย้ายสต๊อกจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งเท่านั้น
ติดตามทุกความเคลื่อนไหวในสต๊อก นับตั้งแต่จัดซื้อ เข้าคลังสินค้า ไปจนถึงใบสั่งขาย ติดตามหมายเลขล็อตหรือหมายเลขซีเรียลในแบบอัปสตรีมหรือดาวน์สตรีมได้จากทุกที่ในซัพพลายเชนของคุณ
ประวัติศาสตร์
ในสมัยก่อน การเดินทางติดต่อระหว่างภาคกลางกับภาคอีสานนั้น มีอุปสรรคคือจะต้องผ่านป่าดงดิบขนาดใหญ่ซึ่งเต็มไปด้วยอันตรายมากมายทั้งสัตว์ร้ายและไข้ป่า ผู้คนที่เดินทางผ่านป่านี้ล้มตายเป็นจำนวนมาก จึงได้ขนานนามว่า ดงพญาไฟ ต่อมาพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จผ่านในคราวเปิดทางรถไฟสายกรุงเทพ-นครราชสีมา ทรงเห็นว่าชื่อดงพญาไฟนี้ ฟังดูน่ากลัว จึงโปรดให้เปลี่ยนชื่อเป็นดงพญาเย็นตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
เมื่อมีการสร้างทางรถไฟ ชาวบ้านก็ได้เข้ามาจับจองพื้นที่กัน โดยเฉพาะบนยอดเขา โดยถางป่าเพื่อทำไร่ และใน พ.ศ. 2465 ได้ขอจัดตั้งเป็นตำบลเขาใหญ่ แต่ด้วยการที่จะเดินทางมายังยอดเขานี้ค่อนข้างลำบากห่างไกลจากการปกครองของเจ้าหน้าที่บ้านเมือง ตำบลเขาใหญ่จึงเป็นแหล่งซ่องสุมของโจรผู้ร้าย จนกระทั่ง พ.ศ. 2475 ทางราชการได้ส่งปลัดจ่างมาปราบโจรผู้ร้ายจนหมด แต่สุดท้ายปลัดจ่างก็เสียชีวิตด้วยไข้ป่า ได้ตั้งเป็นศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ เป็นที่เคารพนับถือจนปัจจุบันนี้
หลังจากปราบโจรผู้ร้ายหมดลงแล้ว ทางราชการเห็นว่าตำบลเขาใหญ่นี้ยากแก่การปกครอง อีกทั้งปล่อยไว้จะเป็นแหล่งซ่องสุมโจรผู้ร้ายอีก จึงได้ยุบตำบลเขาใหญ่ และให้ผู้คนที่อาศัยอยู่บนเขาทั้งหมดย้ายลงมาอาศัยอยู่ข้างล่าง ป่าที่ถูกถางเพื่อทำไร่นั้นปัจจุบันคือยังมีร่องรอยให้เห็นเป็นทุ่งหญ้าโล่ง ๆ บนเขาใหญ่นั่นเอง
พ.ศ. 2502 จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เล็งเห็นว่าบริเวณเขาใหญ่นี้ มีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ อีกทั้งมีความสวยงาม เหมาะใช้เป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ แต่มีปัญหาคือมีการตัดไม้ทำลายป่า จึงได้ให้มีการสำรวจพื้นที่บริเวณตำบลเขาใหญ่เดิมและบริเวณโดยรอบ โดยได้ตราพระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติขึ้นใน พ.ศ. 2504 และมีพระราชกฤษฎีกาตั้งเขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติแห่งแรกของประเทศไทยใน พ.ศ. 2505 นอกจากนี้ยังได้สั่งให้ตัดถนนธนะรัชต์แยกออกมาจากถนนมิตรภาพมายังตัวเขาใหญ่โดยถนนนี้ขึ้นมาบนเขาใหญ่แล้วจะแยกเป็นสองสาย คือไปสิ้นสุดที่น้ำตกเหวสุวัตสายหนึ่ง และไปสิ้นสุดที่เขาเขียวอีกสายหนึ่ง ซึ่งก่อน พ.ศ. 2525 ถนนธนะรัชต์นี้เป็นเพียงถนนสายเดียวที่จะมายังเขาใหญ่ได้
ใน พ.ศ. 2523 ได้มีการตัดถนนสายปราจีนบุรี-เขาใหญ่ โดยถนนนี้เปิดใช้งานใน พ.ศ. 2525 ทำให้สามารถเดินทางได้สะดวกขึ้น และเดินทางจากกรุงเทพมหานครใช้ระยะทางสั้นกว่า อีกทั้งเส้นทางยังชันและมีโค้งหักศอกน้อยกว่าถนนธนะรัชต์เดิม อีกทั้งยังทำให้การท่องเที่ยวในส่วนใต้ของอุทยานสะดวกขึ้น เช่น สามารถเดินทางมายังน้ำตกเหวนรกได้โดยตรง ซึ่งแต่เดิมจะต้องเดินเท้าเข้ามาจากอำเภอปากพลีแล้วเลาะมาตามหน้าผา แต่การตัดถนนใหม่สามารถนำรถยนต์เข้าไปจอดแล้วเดินเท้าประมาณ 1 กิโลเมตรก็ถึงน้ำตกเหวนรกได้แล้ว
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2548 อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ได้รับการประกาศให้เป็นแหล่งมรดกโลกทางธรรมชาติจากยูเนสโกร่วมกับอุทยานแห่งชาติอีกสามแห่งได้แก่ อุทยานแห่งชาติทับลาน อุทยานแห่งชาติปางสีดา และอุทยานแห่งชาติตาพระยา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอีกหนึ่งแห่งได้แก่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่ ภายใต้ชื่อ "กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่"
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ได้รับรางวัลอุทยานแห่งชาติสีเขียว (Green National Parks) ระดับทอง (ดีเยี่ยม) ประจำปี 2563
เหตุเครื่องบินตก พ.ศ. 2505 เครื่องบินของสายการบินยูไนเต็ดอาหรับแอร์ไลน์ เที่ยวบินที่ 869 ประสบอุบัติเหตุตกในเขตพื้นที่เขาใหญ่ระหว่างเดินทางจากฮ่องกงมายังท่าอากาศยานดอนเมืองเมื่อวันที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2505 สองเดือนก่อนที่พระราชกฤษฎีกาตั้งเขาใหญ่เป็นอุทยานแห่งชาติมีผลบังคับใช้ มีผู้เสียชีวิต 26 คน
การเดินทาง
รถยนต์
- เส้นทางที่ 1 กรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ จากถนนพหลโยธิน ผ่านรังสิตประตูน้ำพระอินทร์ และจังหวัดสระบุรี เลี้ยวขวาเข้าถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ก่อนถึงอำเภอปากช่อง บริเวณกิโลเมตรที่ 23 จะพบศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ และเดินทางต่อไปอีกประมาณ 15 กิโลเมตร จะถึงที่ทำการอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ รวมระยะทางประมาณ 205 กิโลเมตร
- เส้นทางที่ 2 กรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ ใช้เส้นทางของทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง หมายเลข 6 หรือมอเตอร์เวย์ บางปะอิน-นครราชสีมา
มีจุดเริ่มต้นโครงการเชื่อมต่อกับถนนกาญจนาภิเษก หรือถนนวงแหวนรอบนอกตะวันออก และถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) บริเวณทางแยกต่างระดับบางปะอิน จังหวัดพระนคร
ศรีอยุธยา มอเตอร์เวย์สายนี้ จะตัดเป็นถนนเส้นใหม่ขนานกับถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1
(ถนนพหลโยธิน) และทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ซึ่งสามารถลงจากมอเตอร์เวย์ ด่านเก็บค่าผ่านทางที่อำเภอปากช่องตัดเข้าถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 2090 (ธนะรัตน์) อำเภอปากช่อง มุ่งหน้าสู่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ก่อนจะถึงช่วงยกระดับเหนือถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ที่อ่างเก็บน้ำลำตะคอง ไปสิ้นสุดที่ทางเลี่ยงเมืองนครราชสีมา (บายพาส) จังหวัดนครราชสีมา - เส้นทางที่ 3 กรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเนินหอม
ใช้เส้นทางถนนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ผ่านรังสิต ผ่านหนองแค เลี้ยวขวาสู่ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 33 (ถนนสุวรรณศร) ที่อำเภอหินกอง ผ่านตัวเมืองนครนายกถึงสี่แยกเนินหอม หรือวงเวียนศาลสมเด็จพระนเรศรมหาราชก่อนเข้าตัวเมืองปราจีนบุรี เลี้ยวซ้ายเข้าสู่ถนนทางหลวงจังหวัดหมายเลข 3077 ปราจีนบุรี – เขาใหญ่ ถึงพื้นที่อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่บริเวณศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเนินหอม รวมระยะทางประมาณ 190 กิโลเมตร ทั้งนี้เส้นทางที่ 2 ค่อนข้างชันเหมาะที่จะใช้เป็นทางลงมากกว่า
รถโดยสารสาธารณะ
- เส้นทางที่ 1 กรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ ให้โดยสารรถประจำทางสายกรุงเทพฯ–นครราชสีมา หรือรถตู้ประจำทางเอกชนสายกรุงเทพฯ–ปากช่อง มาลงที่อำเภอปากช่อง ต่อจากนั้นแนะนำให้เช่ารถหรือต่อรถโดยสารประจำทางสายปากช่อง – เขาใหญ่ ที่ให้บริการตั้งแต่เวลา 06.00 – 17.00 น. ของทุกวัน ซึ่งรถจะออกทุก 30 นาที ค่าโดยสาร 15 บาท ไปสิ้นสุดที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ (ด่านตรวจเก็บค่าบริการอุทยานฯ) จากนั้นแนะนำให้ขออาศัยรถนักท่องเที่ยวเพื่อพาเข้าไปแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
- เส้นทางที่ 2 กรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเนินหอม ขึ้นโดยสารรถประจำทาง กรุงเทพฯ - ปราจีนบุรี มาลงที่แยกวงเวียนนเรศวร (แยกเข้า จ.ปราจีนบุรี) จากนั้นแนะนำให้แนะนำโดยสารมอเตอร์ไซค์รับจ้างที่แยกนี้ หรือขออาศัยรถนักท่องเที่ยวไปลงที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวเนินหอม (ด่านเนินหอม) หรือ พาเข้าไปแหล่งท่องเที่ยวต่างๆ ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
รถไฟ
- เส้นทางจากกรุงเทพฯ - ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ ขึ้นรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ (กรุงเทพฯ - ปากช่อง) ลงที่สถานี อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา แล้วต่อรถสองแถวที่ตลาด อ.ปากช่อง - อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ ลงที่ศูนย์บริการนักท่องเที่ยวศาลเจ้าพ่อ (ด่านตรวจเก็บค่าบริการอุทยานฯ) จากนั้นแนะนำให้ขออาศัยรถนักท่องเที่ยวเพื่อพาเข้าไป แหล่งท่อง-เที่ยวต่างๆ ในเขตอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่